วันอังคารที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553

1. สร้างไฟล์ขึ้นมา




2. กด T ที่แป้นพิมพ์ แล้วทำการพิมพ์ข้อความค่ะ


3. กด Ctrl+J จะได้ layer ใหม่




4.ไปที่ Filter ---> Stylize ---> Tiles




5.ตั้งค่า Number Of Tiles แล้วกด OK





6.แล้วจะปรากฎภาพที่ต้องการ












วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2553







{$num1 = $_POST['num1'];
$operator = $_POST['operator'];
$num2 = $_POST['num2'];
if($operator == "+")
echo "$num1 + $num2 = ".($num1+$num2);
elseif($operator == "-")
echo "$num1 - $num2 = ".($num1-$num2);
elseif($operator == "*")
echo "$num1 * $num2 = ".($num1*$num2);
elseif($operator == "/")
echo "$num1 / $num2 = ".($num1/$num2);
}
?>






{
$num1 = $_POST['num1'];
$operator = $_POST['operator'];
$num2 = $_POST['num2'];

if($operator == "+")
echo "$num1 + $num2 = ".($num1+$num2);
elseif($operator == "-")
echo "$num1 - $num2 = ".($num1-$num2);
elseif($operator == "*")
echo "$num1 * $num2 = ".($num1*$num2);
elseif($operator == "/")
echo "$num1 / $num2 = ".($num1/$num2);
}
?>

วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

VARCHAR สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร ทุกครั้งที่เลือกชนิดของฟิลด์เป็นประเภทนี้ จะต้องมี การกำหนดความยาวของข้อมูลลงไปด้วย ซึ่งสามารถกำหนดค่าได้ตั้งแต่ 1 - 255 ฟิลด์ชนิดนี้ เหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลสั้นๆ เช่น ชื่อ นามสกุล หรือหัวข้อต่างๆ เป็นต้น... ในส่วนฟิลด์ประเภทนี้ จะ สามารถเลือก "แอตทริบิวต์" เป็น BINARY ได้ โดยปกติแล้วการจัดเรียงข้อมูลเวลาสืบค้น (query) สำหรับ VARCHAR จะเป็นแบบ case-sensitive (ตัวอักษรใหญ่ และเล็กมีความหมายแตกต่างกัน) แต่ หากระบุ "แอตทริบิวต์" เป็น BINARY ปุ๊บ การสืบค้นจะไม่คำนึงตัวอักษรว่าจะเป็นตัวใหญ่ หรือตัวเล็ก

TINYINT สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติม ในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น UNSIGNED หรือ UNSIGNED ZEROFILL โดยจะมีความแตกต่างดังนี้UNSIGNED : จะหมายถึงเก็บค่าตัวเลขแบบไม่มีเครื่องหมาย แบบนี้จะทำใหสามารถเก็บค่าได้ ตั้งแต่ 0 - 255 UNSIGNED ZEROFILL : เหมือนข้างต้น แต่ว่าหากข้อมูลที่กรอกเข้ามาไม่ครบตามจำนวน หลักที่เรากำหนด ตัว MySQL จะทำการเติม 0 ให้ครบหลักเอง เช่น ถ้ากำหนดให้ใส่ได้ 3 หลัก แล้วทำการเก็บข้อมูล 25 เข้าไป เวลาที่สืบค้นดู เราจะได้ค่าออกมาเป็น 025 หากไม่เลือก "แอ ตทริบิวต์" สิ่งที่เราจะได้ก็คือ SIGNED นั่นก็คือต้องเสียบิตนึงไปเก็บเครื่องหมาย บวก/ลบ ทำ ให้สามารถเก็บข้อมูลได้อยู่ในช่วง -128 ถึง 127 เท่านั้น

TEXT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดย สูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร

DATE ขนาดที่เก็บ 3 ไบต์เก็บค่าวันที่ในรูปแบบ YYYY-MM-DDโดยมีค่าตั้งแต่ 1000-01-01 ถึง 9999-12-31

SMALLINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย)ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINTMEDIUMINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บ ข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215(ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ

TINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647

BIGINT ขนาดที่เก็บ 8 ไบต์UNSIGNED เก็บค่าจำนวนเต็ม 0 ถึง 18446744073709551615SIGNED เก็บค่าจำนวนเต็ม -9223372036854775808 ถึง 9223372036854775807

FLOAT ขนาดที่เก็บ 4 ไบต์เก็บค่าจำนวนจริงแบบ IEEEตั้งแต่ -3.402823466E+38 ถึง -1.175494351E-38และ 0และ 1.175494351E-38 ถึง 3.402823466E+38

DOUBLE ขนาดที่เก็บ 8 ไบต์เก็บค่าจำนวนจริงแบบ IEEEตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308และ 0และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308

DECIMAL สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง ข้อสังเกต เกี่ยวกับข้อมูลประเภท FLOAT, DOUBLE และ DECIMAL ก็คือ เวลากำหนดความ ยาวของข้อมูลในฟิลด์ จะถูกกำหนดอยู่ในรูปแบบ (M,D) ซึ่งหมายความว่า ต้องมีการระบุว่า จะให้มี ตัวเลขส่วนที่เป็นจำนวนเต็มกี่หลัก และมีเลขทศนิยมกี่หลัก เช่น ถ้าเรากำหนดว่า FLOAT(5,2) จะ หมายความว่า เราจะเก็บข้อมูลเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม 5 หลัก และทศนิยม 2 หลัก ดังนั้นหากทำการใส่ ข้อมูล 12345.6789 เข้าไป สิ่งที่จะเข้าไปอยู่ในข้อมูลจริงๆ ก็คือ 12345.68 (ปัดเศษให้มีจำนวนหลัก ตามที่กำหนดไว้)DATETIME ขนาดที่เก็บ 8 ไบต์เก็บค่าวันที่และเวลาในรูปแบบ YYYY-MM-DD HH:mm:SSโดยมีค่าตั้งแต่ 1000-01-01 00:00:00 ถึง 9999-12-31 23:59:59

TIMESTAMP ขนาดที่เก็บ 4 ไบต์เก็บวันที่และเวลาในรูปแบบ String Timestampm = 14 หรือไม่กำหนด -> YYYYMMDDHHmmSSm = 12 -> YYMMDDHHmmSSm = 10 -> YYMMDDHHmmm = 8 -> YYYYMMDDm = 6 -> YYMMDDm = 4 -> YYMMm = 2 -> YYโดยมีค่าตั้งแต่ 1970-01-01 00:00:00 ถึง 2037

TIME ข้อมูลประเภทเวลา สามารถเป็นได้ตั้งแต่ ‘-838:59:59’ ถึง ‘838:59:59’ แสดงผลในรูปแบบ HH:MM:SS

YEAR ข้อมูลประเภทปี คศ โดยสามารถเลือกว่าจะใช้แบบ 2 หรือ 4 หลักถ้าเป็น 2 หลักจะใช้ได้ตั้งแต่ปี คศ 1901 ถึง 2155ถ้าเป็น 4 หลักจะใช้ได้ตั้งแต่ปี คศ 1970 ถึง 2069

CHAR เป็นข้อมูลสตริงที่จำกัดความกว้าง ไม่สามารถปรับขนาดได้ ขนาดความกว้างเป็นได้ตั้งแต่ 1 ถึง 255 ตัวอักษร

TINYBLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +1 ไบต์ แต่ไม่เกิน 255 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY

TINYTEXT ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +1 ไบต์ แต่ไม่เกิน 255 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY

BLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +2 ไบต์ แต่ไม่เกิน 65535 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY

MEDIUMBLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +3 ไบต์ แต่ไม่เกิน 16777215 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY

MEDIUMTEXTขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +3 ไบต์ แต่ไม่เกิน 16777215 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY

LONGBLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +4 ไบต์ แต่ไม่เกิน 4294967295 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY

LONGTEXT ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +4 ไบต์ แต่ไม่เกิน 4294967295 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY

ENUM ขนาดที่เก็บ 1 หรือ 2 ไบต์ ตามจำนวนค่า value ซึ่งกำหนดได้มากที่สุด 65535 ค่าเก็บค่าตาม value ที่กำหนด

SET ขนาดที่เก็บ 1, 2, 3, 4 หรือ 8 ไบต์ ตามจำนวนค่า value ซึ่งกำหนดได้มากที่สุด 64 ค่าเก็บค่าตาม value ที่กำหนด

BOOL เป็นชนิดข้อมูลที่เก็บได้เพียง2ค่าเท่านั้น คือ True กับ false

BINARY เป็นการอ้างถึงแบบแผนของเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าที่เป็นไปได้ 2 ค่า สำหรับแต่ละตัวเลข คือ 0 และ 1 คำนี้ยังมีหมายถึงการอ้างอิงของระบบในการเข้ารหัส ( encoding) และการถอดรหัส ( decoding) ของตัวเลข ซึ่งมีสถานที่เป็นไปได้ 2 สถานะ ตัวอย่างเช่น ASCII และ Unicode ในหน่วยความจำตัวเก็บข้อมูล , การประมวลผล และการสื่อสาร ของข้อมูลตัวเลข บางครั้งเรียกค่า 0 และ 1 เป็น “ ต่ำ ” และ “ สูง ” (“low และ high”) เลขฐานสองจะดูแปลกเมื่อเขียนโดยตรง เพราะตัวเลขจะเพิ่มเป็นกำลังของ 2 ในหลักของตัวเลขหลักทางขวาสุด คือ หนึ่งหลัก หลักต่อมาทางซ้าย คือ สองหลัก ต่อมาเป็นสี่หลัก ต่อมาเป็นแปดหลัก ต่อมา “165” หลัก ต่อมาเป็น “325” หลัก และต่อ ๆ ไป เลขฐานสิบเทียบเท่ากับเลขฐานสองที่สามารถพบโดยการหาผลรวมของตัวเลขทั้งหมด เช่น เลขฐานสอง 10101 เท่ากับ เลขฐานสิบ 1+4+16 = 21
VARBINARY คือ ข้อมูลมีขนาดแค่ไหน ก็เก็บแค่นั้น แต่ต้องไม่เกิน 1000 ไบต์
(ขนาดพื้นที่เก็บจริง เท่ากับขนาดข้อมูล+2ไบต์)

วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2552

การติดตั้ง AppServ

ดาวน์โหลดโปรแกรม AppServ ก่อนสามารถดาวน์โหลดได้ที่ htt://kitt.kvc.ac.th ทำการติดตั้งโปรแกรม AppServ ลงบนเครื่อง หน้าต่างแรกจะพบกับข้อความต้อนรับ รายละเอียดของโปรแกรม กด Next เข้าสู่ขั้นตอนเงื่อนไขการใช้งานโปรแกรม ให้กด I Agree เข้าสู่ขั้นตอนการเลือกที่ต้องการติดตั้ง ในที่นี่เลือกเป็น C:/appserv เลือก Appserv PackageApache HTTP ServerMySQL Database php Hypertext preprecessorphpMyAdmin แล้วกด Next ตรงช่อง Server name ให้ใส่ localhost และ ช่อง E-mail ให้ใส่ E-mail แล้วกด Next ใส่ Password และ ยื่นยัน password อีกครั้ง แล้วกด Next แล้วกด Install เพื่อติดตั้ง เป็นเสร็จเรียบร้อยสมบุรณ์ เพื่อเช็คว่าใช้งานได้หรือไม่ ให้เข้าไปที่ Internet Eeplorer แล้วพิมพืคำว่า localhost

วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552

-ส่งงาน

แปลความหมายคำศัพธ์
1. Database = การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนแยกกัน เป็น data base ก็มี

2. DBMS (data base management system)DBMS = ระบบจัดการฐานข้อมูล คือซอฟแวร์โปรแกรมหรือกลุ่มขโปรแกรมที่ทำหน้าที่เข้าถึงเข้าถึงและจัดการกับข้อมูลจำนวนมากที่มีความสัมพันธ์กันเปรียบเสมือนตัวกลางระหว่างผู้ใช้งานกับฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์

3. Database Administrators : ของซอฟแวร์DBAs = ฐานข้อมูลผู้ดูแล: DBAs

4. Database Development = ใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่าดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย

5. Data Definition Language : DDL = ภาษาที่ใช้สำหรับนิยามข้อมูล

6. Data Interrogation = การสืบค้นข้อมูล ความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสอบถาม (Query Language) หรือตัวสร้างรายงาน (Report Generator) ซึ่งทำให้สามารถรับคำตอบทันทีในรูปแบบของการแสดงทางจอภาพหรือรายงาน

7. Graphical and Natural Queries = กราฟิกและธรรมชาติการค้นหาผู้ใช้ ( และผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศ) หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์แปลให้เป็นคำสั่ง SQL หรือโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นที่อาจใช้ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ที่คล้ายกับการสนทนาภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆ

8. Application Development = วงจรการพัฒนาระบบ ให้มีขั้นตอนการทำงานที่รวบรัดมากขึ้น มีการเลือกเครื่องมือ (Tools) และเทคนิค (Techniques) ต่างๆ เพื่อช่วยในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น ดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว

9. Data Manipulation Language : DML = คือ ภาษาจัดการข้อมูล ภาษาที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลภายในฐานข้อมูล ได้แก่การเรียกค้น เพิ่ม ลบ และปรับปรุงฐานข้อมูล

10. Subject Area Database : SADB = ฐานข้อมูลซับเจ็กแอเรีย

11. Analytical Database = ฐานข้อมูลวิเคราะห์ เก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้

12. Multidimensional Database = ระบบฐานข้อมูลหลายมิติ

13. Data Warehouses = คือ ศูนย์รวมของข้อมูลที่จัดให้อยู่ในลักษณะที่สะดวกต่อการนำไปวิเคราะห์โดยง่าย ตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับยอดขาย อาจมีองค์ประกอบจากลูกค้า, พนักงานขาย, ระยะเวลา, ประเภท และชนิดของสินค้า ซึ่งข้อมูลอาจมาจากหลายๆ ระบบ

14. Distributed Databases = ฐานข้อมูลแบบกระจาย

15. End User Databases = ฐานข้อมูลผู้ใช้ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ หรือรับจากไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออาจจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่เกิดจากการใช้แผ่นตารางทำการ (Spreadsheet) และโปรแกรมประยุกต์ระบบจัดการฐานข้อมูล

16. Field = เป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขฟระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว เป็นต้น จากความหมายนี้ ก็คือ แอตทริบิวต์นั่นเอง

17. Record = จะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น

18. Table = จะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลฟูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น

19. Entity = หมายถึง สิ่งที่สามารถระบุได้ในความเป็นจริง และต้องการทำการจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้วย โดยสิ่งนั้นอาจเป็นรูปธรรมที่สามารถมองเห็นได้ เช่น หนังสือระบบฐานข้อมูล นาย ศ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้น หรืออาจเป็นนามธรรมที่ไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น จำนวนวันลาพักผ่อนของพนักงาน วันหยุดราชการ เป็นต้น ก็ได้

20. InfraStucture Management = การจัดการ InfraStucture

วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2552